สัญญาดังกล่าวยังได้ห้ามมิให้จำเลยในทวีปยุโรปใช้หรือเข้าถึงข้อมูลเทคโนโลยี IntegRexTM ซึ่งเป็นเทคโนโลยีการ ผลิต PET ของ Eastman รวมทั้งห้ามมิให้จำเลยในทวีปยุโรปเอาข้อมูลเกี่ยวกับเทคโนโลยีดังกล่าวจากอดีตพนักงาน ของ Eastman ทั้งนี้ ในคำฟ้องดังกล่าว Eastman ได้กล่าวหาว่า AlphaPet ได้ละเมิ ดสิทธิบัตรบางรายการของ Eastman โดยการทำ ใช้ ขาย และเสนอขาย polyester monomer และ polyester polymer melt phase products ในสหรัฐอเมริกา และการจัดหาผลิตภัณฑ์ พลาสติกโพลีเมอร์ส ให้แก่บุคคลอื่นที่ทำและขายบรรจุภัณฑ์พลาสติกในสหรัฐอเมริกา จำเลยในทวีปยุโรปได้ละเมิดสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี เนื่องจากอดีตพนักงานของ Eastman ที่รู้ ข้อมูลความลับ และความลับทางการค้าของ Eastman ได้ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลดังกล่าวอย่างไม่สมควร ในช่วงการออกแบบ การเริ่มทดลองเดินเครื่อง และ/หรือการดำเนินการผลิต PET melt-to-resin ของ AlphaPet จำ เลยได้ ลั ก ลอบใช้ ข้ อ มู ล ความลั บ และความลั บ ทางการค้ ของ Eastman ภายใต้ ก ฎหมายของมลรั ฐ เดลาแวร์ Eastman ได้ขอให้ศาลมีคำพิพากษาในเรื่องต่างๆ ซึ่งรวมถึงการให้ค่าชดเชยความเสียหาย ค่าเสียหายเชิง ลงโทษ รวมถึงการให้ค่าใช้สิทธิที่สมเหตุผล การห้าม AlphaPet ไม่ให้กระทำการละเมิดสิทธิบัตรต่างๆ ของ Eastman ในอนาคต การห้ามจำเลยในทวีปยุโรปใช้ข้อมูลความลับ และความลับทางการค้าของ Eastman โดยไม่ได้รับอนุญาต ซึ่งรวมถึงการมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว การให้จ่ายดอกเบี้ย ค่าใช้จ่ายและค่าทนาย ทั้งนี้ คำฟ้องของ Eastman เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2552 มิได้ขอให้มีการไต่สวนเพื่อให้มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวแต่อย่างใด โรงงานผลิต PET ของ AlphaPet ใช้เทคโนโลยีแบบ melt-to-resin ซึ่งได้รับอนุญาตจาก Uhde Inventa Fischer AG ทั้งนี้ AlphaPet ได้เข้าทำสัญญากับ Uhde Inventa Fischer AG เพื่อควบคุมการก่อสร้างโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet และให้บริการงานออกแบบ และอุปกรณ์ บริษัทฯ เชื่อว่าข้อกล่าวหาดังกล่าวไม่มีมูลและบริษัทฯ ประสงค์ ที่จะต่อสู้กับข้อกล่าวหาดังกล่าวอย่างจริงจัง อย่างไรก็ดี บริษัทฯ ไม่อาจคาดการณ์ได้ว่าคดีความนี้จะจบลงเมื่อใด และ ไม่อาจรับประกันได้ว่าศาลแขวงเดลาแวร์จะจำหน่ายคดีหรือตัดสินคดีในทางที่เป็นคุณแก่บริษัทฯ นอกจากนี้ ศาลแขวง เดลาแวร์ อ จมี คำ สั่ ง คุ้ ม ครองไม่ ว่ ชั่ ว คราวหรื อ ถาวรก่ อ นมี คำ พิ พ กษา (ซึ่ ง อาจส่ ง ผลให้ ก รดำ เนิ น การผลิ ต ของ โรงงานผลิ ต PET ของ AlphaPet ต้ อ งหยุ ด ลง) อาจพิ พ กษาเป็ น คุ ณ แก่ Eastman และ/หรื อ ให้ บ ริ ษั ท ฯ ชดใช้ ค่าเสียหายเป็นจำนวนมากให้แก่ Eastman และ/หรือ กำหนดค่าใช้สิทธิขึ้นมา นอกจากนี้ หากศาลเห็นว่าจำเลยในทวีป ยุโ รปได้ ล เมิ ด สั ญ ญาอนุ ญ ตให้ ใ ช้ เ ทคโนโลยี อ ย่ งมี นั ย สำ คั ญ Eastman มี สิ ท ธิ ภ ยใต้ สั ญ ญาดั ง กล่ วที่ จ ยกเลิ ก สัญญารวมทั้งการอนุญาตให้ใช้สิทธิต่างๆ ที่ได้ให้ไว้ภายใต้สัญญาดังกล่าว อีกทั้งบริษัทฯ อาจมีค่าใช้จ่ายเกิดขึ้นเป็น อย่างมากอันเนื่องมาจากการดำเนินการในคดีนี้ อย่างไรก็ตาม หาก Eastman ยกเลิกสัญญาอนุญาตให้ใช้เทคโนโลยี บริษัทฯ เชื่อว่าโรงงานผลิตของจำเลยใน ทวี ป ยุโ รป จะสามารถหาเทคโนโลยี ส มั ญ อื่น (Conventional Technologies) มาทดแทนได้ด้ ว ยต้ น ทุน ที่ ต่ำ และ สามารถดำเนินการได้โดยเกิดผลกระทบน้อยมากหรือไม่เกิดผลกระทบต่อการผลิตเลย ข้อพิพาททางกฎหมายกรณี Industrial Piping AlphaPet ได้ว่าจ้าง Industrial Piping, Inc. ("Industrial Piping") ให้ทำการติดตั้งระบบท่อลำเลียง (Piping) บางประเภทในโรงงานผลิต PET ของ AlphaPet ในเมือง Decatur รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา โดย Industrial Piping ได้ตกลงที่จะปฎิบัติงานดังกล่าวโดยคิดค่าตอบแทนจำนวน 2,990,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ แต่ทั้งนี้ เนื่องจากทั้งสองฝ่าย ได้มีการแก้ไขรายการต่างๆ เพิ่มเติมรวมกัน ทำให้ค่าตอบแทนดังกล่าวเพิ่มขึ้นเป็น 3,220,000 ดอลล่าร์สหรัฐฯ ต่อมาใน วันที่ 23 กันยายน 2551 AlphaPet ได้มีหนังสือแสดงเจตจำนงที่ระบุถึงความพยายามของ AlphaPet กับ Industrial Piping ที่จ ทำความตกลงกั นเกี่ย วกั บเงื่อ นไขและข้อ ตกลงสุด ท้า ย อย่ งไรก็ดี แม้ว่ Industrial Piping จะเริ่ ม ดำเนินงานไปแล้ว แต่ความตกลงเกี่ยวกับเงื่อนไขและข้อตกลงสุดท้ายดังกล่าวก็ยังไม่สามารถตกลงกันได้ ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2552 Industrial Piping ได้ยื่นคำร้องขอให้มีการไกล่เกลี่ยและเรียกร้องให้มีการระงับ ข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการต่อสถาบันอนุญาโตตุลาการอเมริกา (American Arbitration Association) โดยใน คำร้องขอให้มีการระงับข้อพิพาทด้วยวิธีอนุญาโตตุลาการ Industrial Piping ได้ทำการเรียกร้องค่าเสียหายจากการผิด สัญ ญา ประมาทเลิ น เล่ อ และการให้ คำ รั บรองอั น เป็ น เท็ จ โดยประมาทเลิ นเล่ อ โดยไม่ ไ ด้ ร บุ จำ นวนค่ เสี ย หาย และ เรียกร้องจำนวนเงินที่มากกว่า 1.9 ล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ อันเป็นค่าเสียหายจากการผิดข้อตกลงในหนังสือแสดงเจตจำนง ค่าตอบแทนที่สมเหตุสมผลสำหรับการให้บริการ (Quantum Meruit) และค่าปฏิบัติงานและแรงงานที่ได้ดำเนินการไป แล้ว ต่อมาในวันที่ 23 พฤศจิกายน 2552 Industrial Piping ได้ยื่นคำร้องขอสิทธิในการครอบครองทรัพย์สินของ AlphaPet เพื่อเป็นหลักประกันต่อสำนักงานเจ้าพนักงานดูแลทรัพย์สิน (Office of the Probate Judge) เขต Morgan รัฐ Alabama สหรัฐอเมริกา เพื่อร้องขอในเรื่องต่างๆ ซึ่งรวมถึงขอให้มีการแถลงว่า Industrial Piping มีสิทธิที่จะเอา สิทธิในการถือครองทรัพย์สินที่เช่าของ AlphaPet ออกขาย และนำเงินจากการขายดังกล่าวมาชดใช้ตามที่ Industrial Piping ได้เรียกร้อง พร้อมทั้งดอกเบี้ยและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ AlphaPet ได้ปฏิเสธข้อกล่าวหาที่สำคัญทั้งหมดของ Industrial Piping และมีความประสงค์ที่จะต่อสู้คดีอย่าง จริงจัง โดย AlphaPet ได้ยื่นคำร้องแย้งในเรื่องต่างๆ ซึ่งรวมถึงขอให้มีคำสั่งแก้ไขข้อมูลสาธารณะที่เกี่ยวกับสิทธิในการ ถือครองทรัพย์สินเพื่อเป็นหลักประกัน ให้มีการแถลงว่าคู่กรณีทั้งสองฝ่ายไม่มีความจำเป็นที่จะต้องทำการระงับข้อพิพาท ด้ ว ยวิ ธี อ นุ ญ โตตุ ล การ ให้ มี คำ สั่ ง ห้ มมิ ใ ห้ Industrial Piping ดำ เนิ น กระบวนการระงั บ ข้ อ พิ พ ทด้ ว ยวิ ธี อนุญาโตตุลาการต่อไป และให้กำหนดค่าเสียหายตามความเป็นจริงและค่าเสียหายในเชิงลงโทษอันเกิดจากการหมิ่น ประมาททำให้เสียชื่อเสียงและการฉ้อโกง และในวันเดียวกัน Industrial Piping ได้ยื่นคำฟ้องเพื่อทำให้สิทธิในการ ครอบครองทรั พ ย์ สิ น เพื่ อ เป็ น หลั ก ประกั น สมบู ร ณ์ แ ละเพื่ อ บั ง คั บ สิ ท ธิ ดั ง กล่ วต่ อ ศาลประจำ รั ฐ ของเขต Morgan รั ฐ Alabama ทั้งนี้ บริษัทฯ ไม่อาจคาดการณ์ได้ว่าคดีความดังกล่าวจะมีผลสรุปอย่างไร 2 ข้อพิพาททางคดีที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ แต่บริษัทฯ ไม่ได้เข้าเป็นคู่ความโดยตรง ข้อพิพาททางคดีซึ่งบริษัทฯ มิได้เข้าเป็นคู่ความแต่อาจมีผลกระทบต่อการดำเนินธุรกิจของบริษัทฯ ข้อ พิพาทเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและ ระบบบำบัดมลพิษทางอากาศโรงงานผลิต Purified Terephthalic Acid (PTA) ของ บจ. อินโดรามา ปิโตร เคม ซึ่งเป็นข้อพิพาทในศาลปกครองกลาง เมื่ อวั น ที่ 19 มิถุ น ยน 2552 สมาคมต่อ ต้า นสภาวะโลกร้อ นกั บ พวกรวม 43 คน ("ผู้ ฟ้อ งคดี ") ได้ ยื่ นฟ้ อ ง หน่วยงานของรัฐ และรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ ซึ่งรวมถึงรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ("หน่วยงานผู้ถูกฟ้อง") ต่อศาลปกครองกลาง เพื่อขอให้ศาลปกครองกลางมีคำพิพากษาหรือคำสั่งให้หน่วยงานผู้ถูกฟ้องเพิกถอนรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และเพิกถอนใบอนุญาตโครงการหรือกิจกรรมที่เข้าข่ายเป็นโครงการหรือกิจกรรมที่ได้ จัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ตั้งอยู่ในพื้นที่มาบตาพุด บ้านฉางและพื้นที่ใกล้เคียงในจังหวัดระยอง ซึ่ ง อาจก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบต่ อ ชุ ม ชนอย่ งรุ น แรง ทั้ ง ทางด้ นคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสุ ข ภาพ จำนวน 76 โครงการ รวมทั้งขอให้ระงับการดำเนินกิจกรรมใดๆ ในปัจจุบันสำหรับโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่ผู้ขอ อนุญาตหรือเจ้าของโครงการหรือกิจกรรมหรือกิจการที่กำลังดำเนินการอยู่ในปัจจุบันนี้ เนื่องจากเข้าข่ายเป็นโครงการที่ มิ ไ ด้ ป ฏิ บั ติ ต มขั้ น ตอนที่ กำ หนดไว้ ใ นรั ฐ ธรรมนู ญ และกฎหมายอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ซึ่ ง รวมถึ ง การจั ด ให้ มี ก รประเมิ น ผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ การจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสีย และการให้ อ งค์ ก รอิ ส ระให้ ค วามเห็ น ประกอบก่ อ นมี ก รดำ เนิ น โครงการหรื อ กิ จ กรรมดั ง กล่ ว โดยหนึ่ ง ในโครงการ ดังกล่าว ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและระบบบำบัดมลพิษทาง อากาศโรงงานผลิ ต Purified Terephthalic Acid (PTA) ของ บจ. อิ น โดรามา ปิ โ ตรเคม ที่ ไ ด้ รั บ อนุ ญ ตจาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ในวันเดียวกัน ผู้ฟ้องคดียังได้มีคำขอให้ศาลปกครองกลางมีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวก่อนมีคำพิพากษา โดยได้ขอให้ศาลมีคำสั่งระงับโครงการ หรือกิจกรรม หรือกิจการใดๆ ที่กำลังดำเนินการก่อสร้างในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้น รวมถึงห้ามหน่วยงานผู้ถูกฟ้องให้ความเห็นชอบหรืออนุญาตในรายงานของโครงการใหม่ๆ ทุกโครงการที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ต่อมา ในวันที่ 29 กันยายน 2552 ศาลปกครองกลางได้มีคำสั่งกำหนดมาตรการหรือวิธีการเพื่อบรรเทาทุกข์เป็น การชั่วคราวก่อนการพิพากษา โดยให้หน่วยงานผู้ถูกฟ้อง สั่งระงับโครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ดังกล่าวข้างต้นไว้เป็นการ ชั่วคราว จนกว่า ศาลจะมีคำพิ พากษาหรื อศาลมีคำ สั่ง เปลี่ย นแปลงเป็ นอย่ งอื่น ยกเว้ น โครงการหรื อกิ จกรรมที่ไ ด้รั บ ใบอนุญาตก่อนวันประกาศใช้บังคับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 โครงการหรือกิจกรรมที่ไม่ได้ กำ หนดให้ เ ป็ น ประเภทโครงการหรื อ กิ จ กรรมที่ ต้ อ งจั ด ทำ รายงานการวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม ตามประกาศ กระทรวงทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม เรื่ อง กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือ กิ จการซึ่ง ต้ องจัด ทำ รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ และแนวทางการจัดทำรายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ลงวันที่ 16 มิถุนายน 2552 ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการดำเนินการเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติ มาตรา 67 วรรคสอง ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจั ก รไทย พุ ท ธศั ก ราช 2550 อย่ งไรก็ ดี ในเดื อ นตุ ล คม 2552 หน่วยงานผู้ถูกฟ้อง โดยพนักงานอัยการและผู้ประกอบการหลายรายในพื้นที่มาบตาพุด ซึ่งรวมถึง บจ. อินโดรามา ปิโตร เคม ได้ดำเนินการยื่นอุทธรณ์ โดยขอให้ศาลปกครองสูงสุดพิจารณากลับคำสั่งของศาลปกครองกลางที่กำหนดมาตรการ หรือวิธีก รบรรเทาทุกข์ชั่ วคราวก่ อนการพิพากษา และขอให้ศาลปกครองสู งสุดมีคำสั่งระงั บการปฏิ บัติตามคำสั่งศาล ปกครองกลาง เมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2552 ศาลปกครองสูงสุดได้พิจารณาอุทธรณ์และมีคำสั่งให้แก้คำสั่งกำหนดมาตรการหรือ วิธีการบรรเทาทุกข์ชั่วคราวก่อนการพิพากษาของศาลปกครองกลาง โดยมีคำสั่งมิให้หน่วยงานผู้ถูกฟ้องสั่งระงับโครงการ หรือกิจกรรมของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม (และโครงการของบุคคลอื่นอีก 10 โครงการ) เนื่องจากเป็นโครงการหรือ กิจ กรรมที่ ไม่ น่ จะก่ อ ให้ เกิ ด ผลกระทบอย่ งรุ นแรงอย่า งชัด เจน แต่ เป็ นโครงการหรื อกิ จ กรรมที่ มุ่ง ควบคุม หรื อ บำ บั ด มลพิษ หรือติดตั้งอุปกรณ์เพิ่มเติม สืบเนื่องจากคำ วินิ จฉัย ของศาลปกครองสู งสุ ดเกี่ ยวกับคำสั่ง คุ้ม ครองชั่ วคราว บจ. อิ นโดรามา ปิโ ตรเคม ได้ ดำ เนิ น การยื่ น คำ ขออนุ ญ ตต่ อ การนิ ค มอุ ต สาหกรรมแห่ ง ประเทศไทย เพื่ อ เริ่ ม ดำ เนิ น กิ จ การในเชิ ง พาณิ ช ย์ ข อง โรงงานผลิต PTA ของ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ไม่สามารถรับรองได้ว่า การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทยจะให้ค วามเห็นชอบแก่โครงการดังกล่าวจนกว่าเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคดีความจะสิ้นสุด หรืออาจไม่ใ ห้ ความเห็นชอบเลยก็ได้ สำ หรั บ การดำ เนิ น กระบวนพิ จ รณาในคดี ดั ง กล่ ว ศาลปกครองกลางกำ หนดให้ ห น่ ว ยงานผู้ ถู ก ฟ้ อ งคดี ทำ คำให้การและยื่นต่อศาลภายในวันที่ 12 มกราคม 2553 โดยที่ผลของคำพิพากษาในคดีอาจส่งผลให้เกิดการเพิกถอน ใบอนุญาต หรือระงับการดำเนินการในการก่อสร้างอาคารหรือการประกอบกิจการในโครงการของ บจ. อินโดรามา ปิโตร เคม ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2552 จำนวน 3,475 คน (รวมทุกบริษัทในกลุ่ม) จำนวนพนักงาน ประวัติความเป็นมาโดยสรุป บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เดิมชื่อ บจ. บีคอน โกลบอล จดทะเบียนเป็นบริษัทจำกัด เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2546 ต่อมาได้จดทะเบียนเปลี่ยนชื่อเป็น บจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2551 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ประกอบธุรกิจด้านการลงทุนโดยการถือหุ้นในบริษัทต่างๆ (Holding Company) ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ใน ผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีแบบครบวงจร ซึ่งผลิตและจำหน่าย PET (Polyethylene Terephthalate) เส้นใยและเส้นด้ายโพลี เอสเตอร์ (Polyester Fiber and Yarn) PTA (Purified Terephthalic Acid) และเส้นใยจากขนสัตว์ บริษัทฯ เริ่มดำเนินกิจการเมื่อปี 2537 โดยจัดตั้ง บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ซึ่งเป็นผู้ผลิตเส้นด้ายจากขนสัตว์ (Worsted Wool Yarn) เป็นรายแรกในประเทศไทย และเมื่อปี 2538 บริษัทฯ ได้เข้าดำเนินธุรกิจปิโตรเคมีโดยมุ่งเน้นใน อุตสาหกรรมต่อเนื่องของโพลีเอสเตอร์โดยการตั้งโรงงานผลิตเม็ดพลาสติก PET ขึ้นในประเทศไทย นับแต่บัดนั้นเป็นต้น มา กิจการของบริษัทฯ ก็ได้เจริญเติบโตและขยายตัวขึ้นเรื่อยๆ ในวงการอุตสาหกรรมต่อเนื่องของโพลีเอสเตอร์ และ เจริญก้าวหน้าเรื่อยมาจนกระทั่งเป็นผู้ผลิตรายใหญ่รายหนึ่งในอุตสาหกรรมต่อเนื่องของโพลีเอสเตอร์ของโลก โดยธุรกิจ ของบริษัทฯ สามารถแบ่งแยกได้เป็น 4 กลุ่มธุรกิจ อันได้แก่ PET เส้นใยและเส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ PTA และเส้นใยจาก ขนสัตว์ โดยดำเนินธุรกิจอยู่ในประเทศต่างๆ 5 ประเทศ ใน 3 ทวีป บริษัทฯ ประสบความสำเร็จในการขยายธุรกิจ PET โดยการลงทุนในบริษัทใหม่ (Greenfield Investment) การ เข้าซื้อกิจการอื่น (Strategic Acquisitions) และการขยายกิจการที่มีอยู่แล้วให้ใหญ่ขึ้น (Brownfield Expansions) ใน ระหว่ งปี 2538 ถึ ง ปี 2545 บริ ษัท ฯ ได้ข ยายธุร กิจ PET โดยเข้า ลงทุ นในอุ ต สาหกรรมปลายนํ้ (Downstream Production) ของธุรกิจ PET ในรูปของพลาสติกขึ้นรูปขวด (Preforms) ขวด และฝาจุกเกลียว (Closures) โดยเข้าร่วม ทุนกับ บมจ. เสริมสุข ซึ่งเป็นผู้ผลิตและจัดจำหน่ายผลิตภัณฑ์เป็ปซี่ในประเทศไทยแต่เพียงผู้เดียว และยังได้ลงทุนใน โครงการต่างๆ อีกหลายโครงการเพื่อเพิ่มกำลังการผลิตของบริษัทฯ นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ขยายฐานการผลิตผลิตภัณฑ์ PET ไปยังต่างประเทศ โดยในปี 2546 ได้เข้าลงทุนในโรงงานผลิต PET ของ StarPet ในทวีปอเมริกาเหนือ และในปี 2549 ได้เข้าลงทุนในโรงงานผลิต PET ของ Orion Global ในทวีปยุโรป จากการขยายกิจการดังกล่าวทำให้บริษัทฯ เป็นผู้ผลิตเม็ดพลาสติก PET เพียงผู้เดียวที่มีการประกอบธุรกิจอยู่ใน 3 ทวีป ซึ่งเป็นภูมิภาคที่มีปริมาณการบริโภคที่สูง ที่สุดของโลก อันได้แก่ ทวีปเอเชีย ทวีปยุโรป และทวีปอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ เมื่อปี 2551 บริษัทฯ ยังได้ขยายแหล่ง การผลิ ตของบริ ษัท ฯ ด้ ว ยการเข้ ซื้ อ กิ จ การโรงงานผลิ ต เม็ด พลาสติก PET อี กสองแห่ งซึ่ ง ตั้ ง อยู่ใ นทวี ป ยุโ รปจาก Eastman Chemical Company และในปี 2552 ได้เข้าลงทุนในบริษัทใหม่ (Greenfield Investment) ชื่อว่า AlphaPet ซึ่งทำธุรกิจ PET ในทวีปอเมริกาเหนือ ทั้งนี้ ธุรกิจ PET ของบริษัทฯ ได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ในนามของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ในปี 2548 การพั ฒ นาธุ ร กิ จ โพลี เ อสเตอร์ ข องบริ ษั ท ฯ เป็ น ผลมาจากการเข้ ซื้ อ สิ น ทรั พ ย์ จ กกิ จ การที่ มี ปั ญ หาในการ ดำเนินงาน (Distressed Assets) และการเติบโตตามปกติ (Organic Growth) โดยใช้วิธีการขยายกำลังการผลิต (Debottlenecking) และการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์ให้คุ้มค่ามากที่สุด (Asset Optimization) โดยบริษัทฯ ได้เริ่ม ดำเนินธุรกิจโพลีเอสเตอร์ในปี 2540 โดยการเข้าลงทุนใน บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นโรงงานผลิตเส้นใยโพ ลีเอสเตอร์แห่งหนึ่งในประเทศไทย และเมื่อปี 2551 บริษัทฯ ได้เข้าลงทุนใน บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) ซึ่งเป็น ผู้ผ ลิต เส้น ใยโพลีเ อสเตอร์ ร ยใหญ่ ที่ สุด ในประเทศไทย โดยการเข้ ลงทุ นในโรงงานโพลีเ อสเตอร์ ทั้ งสองแห่ งของ บริษัทฯ เป็นการเข้าซื้อสินทรัพย์จากกิจการที่มีปัญหาในการดำเนินงาน ด้วยราคาที่มีส่วนลดจากราคาต้นทุนทดแทนใน การสร้างโรงงานแบบเดียวกัน (Replacement Cost) และต่อมาได้กลายเป็นสินทรัพย์ที่ทำกำไรให้แก่บริษัทฯ เป็นอย่าง ยิ่ง ในปี 2552 บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ได้โอนสินทรัพย์และหนี้สินทั้งหมดให้แก่ บมจ. ทุนเท็กซ์ (ประเทศไทย) ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ บริษัทฯ ได้ขยายกิจการออกไปในรูปแบบการรวมตัวในแนวตั้ง (Vertical Integration) โดยการประกอบธุรกิจ PTA ในปี 2551 ด้วยการเข้าลงทุนในโรงงานจำนวน 3 แห่ง ได้แก่ IRH Rotterdam บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม และ บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ทั้งนี้ ปรัชญาความก้าวหน้าทางธุรกิจ PTA ของบริษัทฯ คือการเข้าซื้อสินทรัพย์ด้วยราคาที่มี ส่วนลดจากราคาต้นทุนทดแทนในการจัดหาทรัพย์สินในทวีปยุโรปและเอเชีย เพื่อเป็นการสนับสนุนธุรกิจ PET และธุรกิจ โพลีเอสเตอร์ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมปลายน้ำ เงินลงทุนในบริษัทย่อย บริษัทร่วม/บริษัทที่เกี่ยวข้อง ณ 31 ตุลาคม 2552 ปรากฏดังนี้ บริษัท (1) มูลค่าเงินลงทุน ประเภทกิจการและ ทุนชำระแล้ว ร้อยละของหุ้นที่ถือ (บาท) (2) (2) ลักษณะธุรกิจ (ตามราคาทุน) (2) (บาท) บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ 774,468,000 97.93 1,951,147,000 บริษัทลงทุน และ ผลิตผ้าขนสัตว์ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส 1,382,197,870 69.29 1,392,470,000 ผลิตและจำหน่าย เม็ดพลาสติก PET 700,000,000 98.85 676,217,000 บจ. อินโด โพลี (ประเทศ ผลิตเส้นใยและ ไทย) (3) เส้นด้ายโพลีเอสเตอร์ บจ. อินโดรามา ปิโตรเคม ผลิตและจำหน่าย PTA 4,727,820,420 100.00 2,525,805,000 2,202,850,000 99.55 1,473,995,000 บมจ. อินโดรามา โพลีเอ ผลิตและจำหน่ายเส้นใย สเตอร์ อินดัสตรี้ส์ และเส้นด้ายโพลีเอ สเตอร์ และผลิตเม็ด พลาสติก PET บมจ. ทีพีที ปิโตรเคมิคอลส์ ผลิตและจำหน่าย PTA 4,925,000,000 52.64 2,184,117,000 (1) เฉพาะบริษัทที่ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ถือหุ้นทางตรง (2) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2552 (3) บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) ได้โอนกิจการทั้งหมดให้กับ บมจ. อินโดรามา โพลีเอสเตอร์ อินดัสตรี้ส์ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2552 และอยู่ ระหว่างการชำระบัญชี การเพิ่มทุน ในระยะ 3 ปีที่ผ่านมา วัน/เดือน/ปี ทุนที่เพิ่ม (บาท) หลังเพิ่มทุน (บาท) หมายเหตุ/วัตถุประสงค์การใช้เงิน 10 มิถุนายน 2551 2,175,000,000 2,575,000,000 เพื่อใช้ในการขยายธุรกิจ 2 กันยายน 2551 583,644,770 3,158,644,770 เพื่อใช้เป็นค่าตอบแทนในการซื้อหุ้น บจ. อินโด รามา ปิโตรเคม 17 กันยายน 2551 192,899,140 3,351,543,910 เพื่อใช้เป็นค่าตอบแทนในการซื้อหุ้น บจ. อินโด โพลี (ประเทศไทย) และบมจ. อินโดรามา โพลีเอ สเตอร์ อินดัสตรี้ส์ 1 กุมภาพันธ์ 2553 400,000,000 3,751,543,910 เพื่อการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ประชาชน 3 กุมภาพันธ์ 2553 582,727,137 4,334,271,047 เพื่อการจัดสรรหุ้นสามัญเพิ่มทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นราย ย่อยของ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส ที่ตอบ รับคำเสนอซื้อหลักทรัพย์เพื่อปรับโครงสร้างการ ถือหุ้นและการจัดการของ บมจ. อินโดรามา เวน เจอร์ส ตามแผนการปรับโครงสร้างการถือหุ้นและ การจัดการระหว่าง บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส กับ บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส 1 มกราคม - 31 ธันวาคม ของทุกปี รอบระยะเวลาบัญชี นายวิเชียร ธรรมตระกูล ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต บริษัท เคพีเอ็มจี ภูมิไชย สอบบัญชี จำกัด ผู้สอบบัญชี บริษัท ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จำกัด นายทะเบียนหุ้น บริษัทหลักทรัพย์ บัวหลวง จำกัด (มหาชน) ที่ปรึกษาทางการเงิน นโยบายการจ่ายเงินปันผล คณะกรรมการของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของกำไร สุทธิหลังหักภาษีและหลังหักสำรองตามกฎหมาย ทั้งนี้ คณะกรรมการ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เป็นผู้มีอำนาจอนุมัติ ในการพิจารณาการจ่ายเงินปันผล โดยคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น เช่น เงินสำรองเพื่อ จ่ ยชำ ระหนี้ เ งิ น กู้ ยื ม แผนการลงทุ น ในการขยายกิ จ การ หรื อ เพื่ อ สนั บ สนุ น กระแสเงิ น สดของบริ ษั ท ฯ ในกรณี ที่ มี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะตลาด เป็นต้น นอกจากนี้ ภายใต้กฎหมายไทย เงิ นปันผลจะต้องจ่ายจากกำไรสุทธิของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ตามงบ การเงินเฉพาะกิจการของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส เท่านั้น ไม่ใช่ตามงบการเงินรวมของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส ดังนั้น บริษัทฯ จึงไม่สามารถจ่ายเงินปันผลใดๆ จากกำไรสุทธิของบริษัทฯ ตามงบการเงินรวมของบริษัทฯ ที่เกิดจากกำไร จากผลประกอบการของ บจ. อินโดรามา โฮลดิ้งส์ ซึ่งบริษัทฯ เข้าลงทุนในปี 2549 และค่าความนิยมติดลบ ซึ่งบริษัทฯ ได้ทำการบันทึกบัญชีในปี 2551 อันเป็นผลมาจากการเข้าซื้อกิจการในปี 2551 บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส มีนโยบายจ่ายเงินปันผลในอัตราไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของกำไรสุทธิหลังหักภาษี และหลังหักสำรองตามกฎหมาย ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทเป็นผู้มีอำนาจอนุมัติในการพิจารณาการจ่ายเงินปันผล โดย คำนึงถึงปัจจัยต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ถือหุ้น เช่น เงินสำรองเพื่อจ่ายชำระหนี้เงินกู้ยืม แผนการลงทุนใน การขยายกิจ การ หรื อเพื่อ สนับ สนุ น กระแสเงิ นสดของบริ ษัท ฯ ในกรณี ที่ มีผ ลกระทบจากการเปลี่ ยนแปลงของสภาวะ ตลาด เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทย่อยแต่ละบริษัทของ บมจ. อินโดรามา เวนเจอร์ส (ยกเว้น บมจ. อินโดรามา โพลีเมอร์ส) ไม่มีการกำหนดนโยบายการจ่ายเงินปันผลแต่อย่างใด ทั้งนี้การจ่ายเงินปันผลของบริษัทย่อย จะต้องได้รับมติอนุมัติจาก คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ มติอนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้นของแต่ละบริษัทย่อย บัตรส่งเสริมการลงทุน บริษัทย่อย ปีสิ้นสุดสิทธิประโยชน์ การยกเว้นภาษีเงินได้นิติ ปีสิ้นสุดสิทธิประโยชน์การลดอัตรา บุคคล ภาษีเงินได้นิติบุคคลร้อยละ 50 2554 ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ บจ. เอเซีย เพ็ท (ไทยแลนด์) (บัตรส่งเสริมการลงทุนเลขที่ 1554(1)/2544) 2559 ไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ (ยังมีต่อ)